http://www.autoflight.co.th
สร้างเว็บไซต์Engine by iGetWeb.com

Home

Product

Download

Contact Us

ส่วนหนึ่งของผู้ใช้งาน

SmartBiz Free

สถิติ

เปิดเว็บ08/02/2008
อัพเดท20/05/2023
ผู้เข้าชม5,050,040
เปิดเพจ7,923,504

แหล่งข้อมูลสำหรับผู้บริหารเพื่องานบัญชี.

สรรพากรเปิดให้บริการรับแบบฯ ภ.ง.ด.90 และ ภ.ง.ด.91 ประจ าปีภาษี 2556 นอกสถานที่เพิ่มเติม

1ก.พ.เริ่มใช้เลขผู้เสียภาษี13หลัก

ผู้เสียภาษีที่มีความประสงค์ที่จะยื่นแบบ ภ.ง.ด.90/91 ผ่านอินเทอร์เน็ต

"สรรพากร" เคาะภาษีบุคคลฯ อัตราใหม่ เล็งปรับลดอัตราเพดานการจัดเก็บให้ถี่ขึ้น เพื่อลดช่องว่างในแต่ละช่วงอัตราภาษีให้แคบลง

สปส.ขยายเวลายื่นกู้น้ำท่วมถึงเดือนเมษายน 255

แนวทางการช่วยเหลือโรงงานอุตสาหกรรมที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย

มาตร​การภาษี​เพื่อ​เพิ่มขีด​ความสามารถ​ใน​การ​แข่งขันของประ​เทศ

ผู้บริจาคช่วยเหลือผู้ประสบภัย สามารถหักลดหย่อนในการคำนวณภาษีเงินได้บุคคล ธรรมดาได้ โดย

มาตรการลดภาษีสรรพสามิตสูงสุด 100,000 บาท

สัมมนาฟรี มุมมองของฟิทช์เกี่ยวกับความเสี่ยงของเศรษฐกิจโลก และแนวโน้มเศรษฐกิจของประเทศไทย

หลักการบันทึกบัญชี : หลักการบันทึกรายการทางบัญชี (Recording transaction)

ธนาคารกรุงไทย เซ็นทรัลเวิลด์ เซ็นทารา แนวหน้า SME นักธุรกิจ แกรนด์ สัมมนาฟรี

กำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล

กรมสรรพากรจับมือศูนย์บริการข้อมูลภาครัฐ 1111 ให้บริการตอบปัญหาภาษีทุกวันตลอด 24 ชั่วโมง

วิธีการขึ้นทะเบียนเป็นผู้ทำบัญชี

ศูนย์บริการข้อมูลสรรพากร (1161) ผ่านช่องทางโทรศัพท์ในระบบ Call Center ได้ตลอด 24 ชั่วโมง

มาตรฐานบัญชีของไทยในปัจจุบัน

แบงก์กรุงไทยแนะรีบชำระภาษีผ่านอินเทอร์เน็ต

การบัญชีบริหาร

สรรพากรใจดีให้คนไทยที่บริจาคช่วยเหลือผู้ประสบภัยที่ญี่ปุ่นได้สิทธิลดหย่อนภาษีด้วย

เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้เสียภาษีอากรและให้การบริหารการจัดเก็บภาษีอากรตามประมวลรัษฎากรมีประสิทธิภาพ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๑ แห่งประมวลรัษฎากร อธิบดีกรมสรรพากรจึงมีคำสั่งดังต่อไปนี้

แบบแสดงรายการภาษีเงินได้นิติบุคคล

สรรพากรเผยบริจาคช่วยเหลือผู้ประสบภัยที่ญี่ปุ่นขอลดหย่อนภาษีได้

กำหนดการจัดสัมมนาภาษีอากร

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

กรมสรรพากรจัดสัมมนาให้ความรู้แก่ผู้ประกอบธุรกิจ E - Commerce

ปีนี้ยังจำเป็นต้องคงภาษีมูลค่าเพิ่ม ( VAT) ไว้ที่ 7% ก่อน

การประเมินระดับนวัตกรรม SMEs ไทย และแนวทางการพัฒนานวัตกรรมธุรกิจ

บริการรับ ชำระภาษีด้วยบัตรเครดิต

การประกอบกิจการต่อไปนี้ได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ

การหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย และการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีการจ่ายรางวัล ส่วนลดหรือประโยชน์ใด ๆ เนื่องจากการส่งเสริมการขาย

ภาษีคณะบุคคล

มาตรการภาษีเพื่อกระตุ้นและฟื้นฟูเศรษฐกิจ

ภาษีคณะบุคคล

การบัญชีต้นทุน

รอบระยะบัญชีของการยื่นภาษีเงินได้นิติบุคคล

ผู้มีหน้าที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ

ในการเสียภาษีจะต้องคำนวณภาษีอย่างไร

การควบคุมภายในเกี่ยวกับ การรับเงิน

ภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีการนำสินค้าที่มีไว้เพื่อขายมาใช้เพื่อการประกอบกิจการ

ภาษีเงินได้นิติบุคคล โปรแกรมบัญชี

รวมคำถามที่ถามบ่อย

สิ่งที่ผู้บริหารมือใหม่ควรทราบเป็นเบี้องต้น

จดทะเบียนนิติบุคคลใหม่ มีคนต่างด้าวถือหุ้นอยู่ !!

กรมสรรพากรขยายเวลารับแบบฯ ภาษีเต่างๆสำหรับบุคคลธรรมดาครึ่งปี ให้กับท้องที่ที่เกิดอุทกภัย

กฎหมายออกใหม่ กรกฎาคม 2550

ข้อหารือภาษีอากร

Tax Point จุดรับผิดทางภาษี

คำถามยอดนิยม RMF LTF

การขอคืนภาษี

รอบระยะบัญชีของการยื่นภาษีเงินได้

การจำหน่ายหนี้สูญ

การขอคัดแบบแสดงรายการภาษี

การยกเลิกใบกำกับภาษีฉบับเดิม แล้วออกฉบับใหม่ ทำอย่างไร

การออกใบแทนใบกำกับภาษี ใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้

ผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการเสียภาษีอากร

ทำไม กิจการต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 7.0

การออกใบกำกับภาษี

ผู้มีหน้าที่ออกใบกำกับภาษี

ประเภทของใบกำกับภาษี

การจัดทำใบกำกับภาษีแบบเต็มรูป

สิทธิของผู้เสียภาษี

ใครบ้างที่ต้องเสียภาษี

กิจการที่ได้รับการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มตามกฎหมาย

ผู้ประกอบการที่ได้รับการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มตามกฎหมาย แต่สามารถขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม

กำหนดหลักเกณฑ์ สำหรับเงินได้ที่ได้รับจากการขายทรัพย์สินประเภทเครื่องจักร

กรมสรรพากรเตือนบริษัทห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้นิติบุคคลประจำปี

รายจ่ายต้องห้ามโดยแท้

รายจ่ายต้องห้ามโดยแท้

        รายจ่ายต้องห้ามโดยแท้ (Proper Non Deductible Expenditure) หมายถึง รายจ่ายที่โดยปกติธรรมดาในทางธุรกิจก็ไม่ถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิ และขาดทุนสุทธิ แต่เนื่องจากในทางภาษีอากรบัญญัติเป็นเชิงปฏิเสธ จึงต้องนำรายการรายจ่ายต้องห้ามโดยแท้มาบัญญัติห้ามมิให้ถือเป็นรายจ่าย มิฉะนั้น อาจเป็นช่องทางให้ผู้ที่ไม่สุจริตนำรายจ่ายประเภทนี้มาคำนวณหักเป็นรายจ่าย ในการคำนวณกำไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลได้ ซึ่งอาจจำแนกรายจ่ายต้องห้ามโดยแท้ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 65 ตรี แห่งประมวลรัษฎากรได้ดังนี้

      1.มาตรา 65 ตรี (1) เฉพาะในส่วนที่เป็นเงินสำรองทั่วไป เช่น สำรองตามกฎหมาย ซึ่งกันจากกำไรสะสมก่อนจ่ายเงินปันผล ในอัตรา 5% ของกำไรสุทธิประจำงวด (ที่ยังมิได้จ่ายเงินปันผล) จนกว่าเงินสำรองจะมีจำนวนไม่น้อยกว่า 10% ของทุนจดทะเบียน หรือสำรองเผื่อขยายกิจการที่กันไว้จากกำไรสะสมเช่นเดียวกัน

      2.มาตรา 65 ตรี (2) เงินกองทุน โดยทั่วไปเงินกองทุน เป็นเงินที่กันจากเงินสดของกิจการ ยังไม่มีการจ่ายจริง เช่น กองทุนเงินกู้ยืมแก่พนักงานเพื่อเป็นสวัสดิการ

      3.มาตรา 65 ตรี (3) เฉพาะส่วนที่เป็นรายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการส่วนตัว หรือรายจ่ายให้โดยเสน่หา รวมทั้งค่าการกุศลไม่สาธารณะ เนื่องจากรายจ่ายในการดำเนินงานต้องเป็นรายจ่ายที่เกี่ยวเนื่องโดยตรงกับการ ดำเนินกิจการหรือรายจ่ายเพื่อหากำไรโดยเฉพาะ จึงไม่สามารถนำรายจ่ายดังกล่าวมาถือเป็นรายจ่ายได้

            (1) รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการส่วนตัว ได้แก่ รายจ่ายส่วนตัวกรรมการ ที่ปรึกษา หรือพนักงาน ซึ่งเป็นบุคคลภายในองค์กรตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปกำหนดให้แยกความ เป็นส่วนตัวออกจากกิจการ เช่น ค่าจัดงานศพของกรรมการที่ปรึกษาหรือพนักงาน เป็นต้น
            (2) รายจ่ายให้โดยเสน่หา หมายถึง รายจ่ายส่วนตัวของผู้รับซึ่งเป็นบุคคลภายนอกองค์การที่บริษัทหรือห้างหุ้น ส่วนนิติบุคคลยอมรับมาเป็นรายจ่ายของกิจการ เช่น รายจ่ายของขวัญ ของชำร่วย เป็นต้น
            (3) รายจ่ายการกุศลไม่สาธารณะ หมายถึง รายจ่ายการกุศลทั่วไปที่มีความใกล้เคียงกับรายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการส่วน ตัวหรือให้โดยเสน่หา ประกอบกับบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลจัดตั้งขึ้นเพื่อมุ่งค้าหรือหา กำไร มิใช่องค์การกุศลสาธารณะจึงไม่จำเป็นต้องมีรายจ่ายประเภทนี้

      4.มาตรา 65 ตรี (5) รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุนหรือรายจ่ายฝ่ายทุน ได้แก่ รายจ่ายเพื่อการได้มาซึ่งได้มาซึ่งทรัพย์สินถาวรทั้งที่มีรูปร่าง และไม่มีรูปร่าง

      5.มาตรา 65 ตรี (6 ทวิ) ภาษีซื้อที่ผู้ประกอบการมีสิทธินำไปเครดิตหักออกจากภาษีขายในการคำนวณภาษี มูลค่าเพิ่มที่ต้องเสียในแต่ละเดือนภาษี และภาษีมูลค่าเพิ่มได้ชำระหรือพึงต้องชำระตามแบบ ภ.พ. 30 เนื่องจากภาษีขายมากกว่าภาษีซื้อในแต่ละเดือนภาษี

      6.มาตรา 65 ตรี (7) การถอนเงิน โดยปราศจากค่าตอบแทนของผู้เป็นหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล หมายถึง เงินถอนทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล

      7.มาตรา 65 ตรี (9) รายจ่ายซึ่งกำหนดขึ้นเองโดยไม่มีการจ่ายจริง

      8.มาตรา 65 ตรี (10) ค่าตอบแทนแก่ทรัพย์สินซึ่งบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเป็นเจ้าของเอง และใช้เอง เป็นรายจ่ายที่เป็นไปไม่ได้ในทางปฏิบัติ เพราะโดยปกติกิจการไม่อาจกระทำการเช่นนั้นได้ และไม่มีช่องทางที่จะบันทึกรายการทางบัญชีสำหรับรายการนี้ได้เลย

      9.มาตรา 65 ตรี (11) ดอกเบี้ยที่คิดให้สำหรับเงินทุน เงินสำรองต่างๆ หรือเงินกองทุนของตนเองเป็นรายจ่ายที่เป็นไปไม่ได้ในทางปฏิบัติเช่นเดียวกับ รายจ่ายต้องห้ามตามมาตรา 65 ตรี (10) ข้างต้น

      10.มาตรา 65 ตรี (12) เฉพาะในส่วนที่เป็นขาดทุนสุทธิในรอบระยะเวลาบัญชีปีก่อนๆ ที่เกินกว่า 5 ปีก่อนรอบระยะเวลาบัญชีปีปัจจุบัน เป็นรายการรายจ่ายต้องห้ามที่สอดคล้องต้องกันทั้งในทางบัญชี และในทางภาษีอากร

      11.มาตรา 65 ตรี (13) รายจ่ายซึ่งมิใช่รายจ่ายเพื่อหากำไรหรือเพื่อกิจการโดยเฉพาะ อาจแยกพิจารณาได้ดังนี้

            (1) รายจ่ายที่มิใช่รายจ่ายเพื่อหากำไรหรือเพื่อกิจการ หมายถึง รายจ่ายที่มิใช่รายจ่ายในการดำเนินกิจการหรือรายจ่ายที่มิได้เกิดขึ้นเพื่อ การประกอบกิจการตามวัตถุประสงค์ ทั้งไม่อำนวยให้เกิดรายได้จากการจ่ายรายจ่ายรายการนั้น
            (2) รายจ่ายที่จ่ายแทนหรือจ่ายเพื่อกิจการของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลอื่น
            (3) ผลขาดทุนของสำนักงานใหญ่ในต่างประเทศ

      12.มาตรา 65 ตรี ผ14) รายจ่ายที่มิใช่รายจ่ายเพื่อหากำไรหรือกิจการในประเทศไทย โดยเฉพาะหมายถึง รายจ่ายในต่างประเทศของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตาม กฎหมายของต่างประเทศ ซึ่งประกอบกิจการในประเทศไทย และเป็นรายจ่ายที่มิใช่รายจ่ายเพื่อกิจการในประเทศไทย โดยเฉพาะ

      13.มาตรา 65 ตรี ผ16) ค่าของทรัพยากรธรรมชาติที่สูญหรือสิ้นไปเนื่องจากกิจการที่ทำ ซึ่งถือเป็นราย
 

ที่มา : www.jarataccountingandlaw.com

view

หน้าแรก

ผลิตภัณฑโปรแกรมบัญชี

Contact Us

view